ยี่ห้อ vaccine
PVRV = Purified Vero cell rabies vaccine (Verorab®): 0.5 mL
CPRV = Chromatographically Purified vero cell Rabies Vaccine (Speeda®): 0.5 mL
PCECV = Purified Chick Embryo Cell Rabies Vaccine (Rabipur®): 0.1 mL
PDEV = Purified Duck Embryo Cell Rabies Vaccine (Lyssavac N®): 0.1 mL
Pre-exposure vaccination (2 doses WHO 2022)
สามารถฉีดได้ทุกอายุ คนท้องฉีดได้
คนทั่วไป ฉีด 2 doses
สูตร 1 : 0.5 mL IM x 1 จุด day 0, 7
สูตร 2 : 0.1 mL ID x 2 จุด day 0, 7 หรือ 21
กรณี immunocompromised host และ กลุ่มเสี่ยงสูง (สัตวแพทย์ และนักปศุสัตว์) ฉีด 3 doses
สูตร 1 : 0.5 mL IM x 1 จุด at day 0 , 7 , 21 หรือ 28
สูตร 2 : 0.1 mL ID x 1 จุด at day 0 , 7 , 21 หรือ 28
Post-exposure vaccination (คนท้องฉีดได้)
ประเมินตาม
ลักษณะแผล & ภูมิคุ้มกันผู้ป่วย
ประวัติ vaccine
- ลักษณะแผล (WHO category)
CAT 1 : แค่สัมผัส ไม่มีแผลใดๆ (no Tx)
CAT 2 : มีแผลถลอก รอยข่วน กินเนื้อที่มีเชื้อพิษสุนัขบ้าที่ปรุงไม่สุก
Non-immunocompromised host : ดูประวัติ vaccine
Immunocompromised host : Full course IM + RIG
CAT 3 : แผลมีเลือดออกชัดเจน น้ำลายสัตว์ถูกเยื่อบุ / แผลเปิด
Non-immunocompromised : ดูประวัติ vaccine
Immunocompromised host : Full course IM + RIG
Immunocompromised host
primary immunodeficiency
HIV ที่มี CD4 level < 200
on prednisolone > 20 mg/day มานานมากกว่า 14 วันขึ้นไป
ผู้ป่วย malignancy ที่กำลัง on chemotherapy
ผู้ป่วย post-organ transplantation
- ประวัติ vaccine
กลุ่ม vaccinated < 6 month
กลุ่ม vaccinated > 6 month
กลุ่ม Un vaccinated
กลุ่ม vaccinated < 6 month (Booster 1 วัน)
สูตร 1 : 0.5 mL IM x 1 จุด day 0
สูตร 2 : 0.1 mL ID x 1 จุด day 0
กลุ่ม vaccinated > 6 month (Booster 2 วัน)
สูตร 1 : 0.5 mL IM x 1 จุด day 0, 3
สูตร 2 : 0.1 mL ID x 1 จุด day 0, 3
สูตร 3 : 0.1 mL ID x 4 จุด day 0 (ต้นแขน 2 ข้าง + หน้าขา 2 ข้าง หรือ สะบักหลัง 2 ข้าง )
กลุ่ม non-vaccinated (4 doses WHO 2022)
แยกตามแผล
CAT 2 : ฉีด full IM or ID regimen , ไม่ต้องฉีด RIG (เฉพาะ host ดี)
สูตร ESSEN (standerd WHO) (5 วัน)
0.1/0.5 mL (แล้วแต่ยี่ห้อ) IM 1 จุด day 0 , 3 , 7 , 14 , 28 * (สภากาชาดไทย CPG 2016)
สูตร modified TRC (4 วัน)
0.1 mL ID x 2 จุด (ต้นแขน 2 ข้าง) at day 0 , 3 , 7 , 28
CAT 3 : ฉีดเหมือน CAT 2 + RIG (ฉีดภายใน 7 วัน,คนท้องฉีดได้)
ERIG ไม่เกิน 40 IU/kg
HRIG ไม่เกิน 20 IU/kg
แนะนำเป็นฉีดที่ deltoid m. ได้ทั้งสองข้าง ยกเว้นว่าใน regimen ที่ฉีดที่เดียว 4 เข็ม อาจจะไปฉีดที่ anterior thigh หรือ scapular ด้วยได้
ห้ามฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพก เพราะภูมิคุ้มกันจะขึ้นไม่ดี
สำหรับ RIG (Rabies Immunoglobulin)
ERIG สะกัดจากม้า
HRIG สะกัดจากคน ซึ่งใช้ในผู้ที่แพ้ ERIG หรือมีประวัติเคยได้วัคซีนเซรุ่มจากม้ามาก่อน เช่น เซรุ่มแก้พิษงู
ส่วนการฉีด RIG "ฉีดแค่รอบแผลให้มากที่สุด" ที่เหลือไม่ต้องฉีดก้นแล้ว โดย ต้องไม่เกิน max dose คือ
ERIG ไม่เกิน 40 IU/kg
HRIG ไม่เกิน 20 IU/kg
เทคนิคการฉีด RIG
ควรฉีด RIG ภายใน 7 วัน
ตั้งแต่วันแรกที่เริ่มฉีดวัคซีน (หากไม่สามารถหา RIG ได้ในระยะแรก เมื่อจัดหาได้แล้วควรรีบฉีดให้โดยเร็วที่สุด
แต่ถ้าฉีดวัคซีนเข็มแรกไปแล้วเกิน 7 วัน จะเริ่มมีภูมิคุ้มกัน ไม่ต้องฉีด RIG เพราะจะกดภูมิคุ้มกันที่กำลังสร้าง
ถ้าใช้ HRIG ไม่ต้องทดสอบการแพ้
แต่ถ้าใช้ ERIG ต้องทดสอบการแพ้ที่ผิวหนัง (skin test)
การทดสอบการแพ้ ERIG ที่ผิวหนัง
เจือจาง ERIG 1:100 ด้วย NSS
ฉีด 0.02 ml เข้าในผิวหนังบริเวณท้องแขน ด้วย tuberculin syringe จนเกิดรอยนูนเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 มม.
ฉีดน้ำเกลือเข้าในผิวหนังบริเวณท้องแขนอีกข้างหนึ่งเพื่อเปรียบเทียบ
รอ 15-20 นาทีจึงอ่านผล
จุดที่ฉีด ERIG มีรอยนูน บวมแดง (wheal) เส้นผ่าศูนย์กลาง 10 มม. ขึ้นไป -> POSITIVE
จุดที่ฉีด ERIG มีรอยแดง (flare) ล้อมรอบ แต่จุดที่ฉีดน้ำเกลือ ไม่มี -> POSITIVE
โดยทั่วไป ไม่แนะนำให้เปลี่ยนวิธีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาจากที่อื่นมาก่อน แต่ถ้าจำเป็นจริงๆ
ถ้า day 0 ฉีด IM เปลี่ยนเป็น ID ได้
ถ้า day 0 ฉีด สูตร 2 เข็ม เปลี่ยนเป็น แบบ 1 เข็มได้
ถ้าเป็นบาดแผลบริเวณหนังตาหรือที่ตา จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูงให้ฉีด HRIG ที่แผลถ้าหากฉีดไม่ได้ให้ หยอดบริเวณแผลที่ตา
หลังจากสัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าแล้วทุกคนจะต้อง
ล้างแผลด้วยน้ำสบู่ นานอย่างน้อย 15 นาที และ ทำแผลด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ จะเป็น povidine, alcohol หรือ chlorhexidine ก็ได้
Antibiotics
Tetanus vaccine พิจารณาตาม last dose tetanus ที่เคยได้ และจากลักษณะของแผล (prone/ non-prone wound)