Pelvic imflammatory disease : PID
Ref. https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/lessons/pelvic-inflammatory-disease/
การวินิจฉัย
ไม่มีอาการและอาการแสดงที่ถือเป็น pathognomonic จึงมี Definite dx ยาก
Differential diagnosis
ไส้ติ่งอักเสบ (acute appendicitis หรือ appendicial abscess)
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (endometriosis หรือ endometrioma)
การบิดขั้ว (torsion) หรือ การแตก (rupture) ของก้อนที่ปีกมดลูก
การตั้งครรภ์นอกมดลุก (ectopic pregnancy)
ภาวะติดเชื้อของทางเดินอวัยวะสืบพันธุ์ส่วนล่าง
ในปี 1983 Hager และคณะได้เสนอเกณฑ์ในการวินิจฉัย PID ทางคลินิกไว้ และต่อมาได้รับการพัฒนาจนเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ดังนี้
เกณฑ์หลัก (major criteria) : ต้องมีครบ 3 ข้อ
Abdominal direct tenderness with/without rebound tenderness
Tenderness with motion of the cervix and uterus
Adnexal tenderness
เกณฑ์รอง (minor criteria) : มีอย่างน้อยข้อใดข้อหนึ่ง
oral Tem. > 38.3° C หรือ > 101° F)
mucopurulent discharge ที่ผิดปกติบริเวณปากมดลูกหรือช่องคลอด
ตรวจพบเม็ดเลือดขาว เมื่อตรวจสารคัดหลั่งของช่องคลอดในน้ำเกลือ (wet preparation) ด้วยกล้องจุลทรรศน์
ตรวจพบ ESR : erythrocyte sedimentation rate สูงเพิ่มขึ้น
ตรวจพบ C-reactive protein สูงเพิ่มขึ้น
ตรวจทางห้องปฏิบัติพบว่ามีการติดเชื้อหนองในแท้หรือหนองในเทียมที่ปากมดลูก เช่น เมื่อเก็บตัวอย่างจากช่องคอปากมดลูกมาย้อม Gram stain พบว่ามีเชื้อรูปร่างแบบ diplococci แกรมบวกอยู่ภายในเซลล์ (intracellular)