Gender dysphoria
Diagnosis
ตาม DSM-5 (for adolescent) ต้อง A + B
A : ≥ 2 criteria for ≥ 6 months' duration in adolescents or adults
A strong desire to be of a gender other than one's assigned gender
A strong desire to be treated as a gender other than one's assigned gender
A significant incongruence between one's experienced or expressed gender and one's sexual characteristics
A strong desire for the sexual characteristics of a gender other than one's assigned gender
A strong desire to be rid of one's sexual characteristics due to incongruence with one's experienced or expressed gender
A strong conviction that one has the typical reactions and feelings of a gender other than one's assigned gender
B : the condition must be associated with clinically significant distress or impairment.
ICD-10 เรียกภาวะนี้ว่า “transsexualism F64.0 ” = ภาวะที่มีความต้องการที่จะมีลักษณะภายนอกและบทบาททางสังคมเหมือน “เพศตรงข้าม” รวมถึง “ความต้องการที่จะผ่าตัดแปลงอวัยวะเพศ” ของตนให้เป็นลักษณะเหมือนเพศตรงข้าม โดยราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทยกำหนดศัพท์ภาษาไทยของภาวะนี้ว่า “ภาวะอยากแปลงเพศ”
Differential diagnosis
- การไม่เป็นไปตามบทบาทประจำเพศ (non-conformity to gender roles)
หมายถึง การแสดงออกทาง ด้านเพศในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งต่างไปจากบทบาทตามเพศกำเนิดที่สังคมคาดหวัง เช่น การแต่งกายบางรูปแบบ หรือ รสนิยมทางเพศบางลักษณะ
- การเกิดอารมณ์ทางเพศ "ชนิดที่สวมใส่เครื่องแต่งกายของเพศตรงข้าม" (transvestic disorder)
หมายถึง กลุ่มโรคกามวิตถาร (paraphilic disorder) ชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้การแต่งกายเป็นลักษณะเพศตรงข้ามเพื่อกระตุ้นอารมณ์ ทางเพศ
วิธีแยก จะไม่พบความไม่สอดคล้องกันระหว่างเพศสภาพที่ตนรับรู้หรือแสดงออก กับเพศกำเนิด
- โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติ (body dysmorphic disorder)
หมายถึง กลุ่มโรคกลุ่มย้ำคิด ย้ำทำ (obsessive-compulsiveandrelateddisorder) ชนิดหนึ่ง
ที่มีความหมกมุ่นเกี่ยวกับส่วนหนึ่งของของร่างกาย ว่ามีความผิดปกติในลักษณะต่าง ๆ
ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจต้องการผ่าตัดแก้ไขอวัยวะเพศ
แต่ไม่ได้เป็นผลจากความไม่สอดคล้องกันระหว่างเพศสภาพที่ตนรับรู้หรือแสดงออกกับเพศกำ เนิด
- โรคจิตเภท (schizophrenia and other psychotic disorder)
หมายถึง กลุ่มอาการที่มีความผิดปกติ ของความคิด เช่น หลงผิด (delusion)
ในผู้ป่วยบางรายอาจมีความคิดหลงผิดว่าตนเป็นอีกเพศหนึ่ง ร่วมกับอาการ ทางจิตอื่น ๆ (psychosis)
ผู้ป่วยกลุ่มนี้เมื่อรักษาอาการทางจิตจนดีขึ้นแล้ว ความคิดหลงผิดจะหายไป ซึ่งแตกต่าง จากภาวะเพศสภาพไม่ตรงกับเพศกำเนิด
อย่างไรก็ตามผู้ที่มีภาวะเพศสภาพไม่ตรงกับเพศกำ เนิดอาจพบโรคจิตเภท ร่วมด้วยได้